k8s


แผนภาพแสดงการเพิ่มโนดใน Kubernetes cluster

การเพิ่มโนดใน Kubernetes cluster (RKE 2) โดยใช้ Ansible (role lablabs.rke2)

กรณีที่เคยติดตั้ง Kubernetes cluster โดยใช้ Ansible (role lablabs.rke2) แล้วต้องการเพิ่มโนดในภายหลัง หรือแทนที่โนดที่เคยลบไปแล้ว สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ ลบระเบียนโนดเก่าออกจากไฟล์ known_hosts กรณีการแทนที่โนดที่เคยลบไปแล้ว ให้ลบระเบียนโนดนั้นออกจากไฟล์ known_hosts ของสถานีงานก่อน โดยใช้คำสั่ง ssh-keygen -R <ชื่อโฮสต์ของโนดเก่า> คัดลอก public key ไปไว้ในไฟล์ authorized_keys ของโนดใหม่ สามารถคัดลอก public key ไปไว้ในไฟล์ authorized_keys ของโนดใหม่ได้โดยใช้คำสั่ง ssh-copy-id <ชื่อผู้ใช้ […]


แผนภาพแสดงการลบโนดออกจาก Kubernetes cluster

การลบโนดออกจาก Kubernetes cluster

กรณีที่โนดขัดข้อง หรือมีความประสงค์ที่จะตั้งค่าโนดใหม่ มีขั้นตอนลบโนดออกจาก Kubernetes cluster ดังนี้ การหยุด pod ทั้งหมดบนโนด สามารถหยุดการทำงานของ pod ทั้งหมด โดยใช้คำสั่ง โดยจะเห็นได้ว่ามีการใช้พารามิเตอร์เพิ่มเติม ดังนี้ ตรวจ pod ในที่ทำงานในโนด ใช้คำสั่ง เพื่อดูว่ายังมี pod ทำงานในโนดนั้นหรือไม่ โดยใช้คำสั่ง หากไม่มี pod ทำงานอยู่ในโนดนั้นแล้ว (ยกเว้น pod ที่จัดการด้วย DaemonSet) สามารถลบโนดออกจาก Kubernetes cluster ได้ในขั้นตอนถัดไป ลบโนดออกจาก Kubernetes cluster โดยใช้คำสั่ง:


การตั้งค่า Ingress Controller สำหรับ Kubernetes cluster (RKE 2) ที่ใช้ kube-vip

ในการเปิดช่องทางให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึง Pod หรือ Deployment จากภายนอกนั้น นอกจากการใช้ Service ประเภท NodePort หรือ LoadBalancer แล้ว ยังสามารถใช้ Ingress เพื่อเปิดให้เข้าถึง Pod/Deployment ผ่าน hostname ที่ถูกเรียกใช้งานได้อีกด้วย ตัวอย่างเช่น โดย Ingress จะเป็นทรัพยากรที่ใช้ตั้งค่า เช่นให้ hostname ไหนใช้ Pod/Deployment ไหน แต่ส่วนที่ทำหน้าที่ประมวลผลการตั้งค่าเหล่านี้คือ Ingress Controller Ingress Controller ที่ติดตั้งมาพร้อมกัน RKE 2 คือ Ingress NGINX Controller ที่ผ่านการปรับการตั้งค่าให้เหม […]


ติดตั้ง Kubernetes โดยใช้ Ansible

การติดตั้ง Kubernetes cluster โดยใช้ Ansible (role lablabs.rke2) 2

Kubernetes เป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สสำหรับสร้าง ขยายขนาด และจัดการ container โดยอัตโนมัติ Ansible เป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สสำหรับดำเนินการเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศโดยอัตโนมัติ ทำให้จัดการเครื่องแม่ข่าย/เครื่องแม่ข่ายเสมือน เช่น สั่งการให้ restart, ปรับรุ่นซอฟต์แวร์, หรือเปิดให้ service ทำงาน ได้พร้อม ๆ กัน โดยที่ไม่ต้องเข้าไปจัดการทีละเครื่อง นอกจากนี้ ยังสามารถกำหนดบทบาทของเครื่องแม่ข่ายแต่ละเครื่อง ว่าจะให้ติดตั้ง/ตั้งค่าซอฟต์แวร์อย่างไร โดยการระบุ role ได้อีกด้วย ซึ่งผู้ดูแลระบบสามารถสร้าง เผยแพ […]