❓❔❓ขยายเวลารับฟังความคิดเห็น ร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ ..) พ..ศ …🕕 (ตั้งแต่วันที่ 31 มีนาคม 2563 ถึง 30 เมษายน 2563)30 มีนาคม 2020 ใน กฎหมายเกี่ยวกับ พรบ ป่าไม้ / ประชาสัมพันธ์ / หนังสือเวียน by jiraporn ร่าง-พรฎ.กำหนดไม้หวงห้ามดาวน์โหลดสรุปความเป็นมาในการแก้ไข-พรฎดาวน์โหลด
ตอบ ↓ นายเฉลิมชัย สมมุ่ง 31 มีนาคม 2020 ณ 09:47 ผมเห็นด้วยกับการที่ให้ไม้กฤษณา เป็นไม้หวงห้าม ในพื้นที่ป่าธรรมชาติเช่น ป่าอุทยาน ป่าอนุรักษ์ต่างๆเพื่อป้องกันการลักลอบตัดไม้กฤษณา ในป่าธรรมชาติ เพื่อช่วยกันป้องกันรักษา แต่ไม่เห็นด้วยกับกฤษณา ที่ปลูกในพื้นที่ สปก.หรือพื้นที่ ที่รัฐให้ใช้ประโยชน์ เป็นไม้หวงห้าม
ตอบ ↓ ศิรินภา กิติวงค์ 9 เมษายน 2020 ณ 11:15 –เห็นด้วย–กับการให้ไม้กฤษณาเป็นไม้หวงห้าม เพราะไม่ส่งผลกระทบกับประชาชนผู้ปลูกไม้ดังกล่าวในที่ดินกรรมสิทธิ์
ตอบ ↓ อัญชลี กงลา 9 เมษายน 2020 ณ 11:37 เห็นด้วยกับการกำหนดให้ไม้ ที่ขึ้นอยู่ในพื้นที่กรรมสิทธิ์ ไม่เป็นไม้หวงห้าม เนื่องจากจะช่วยใช้ประชาชนได้นำไม้เหล่านั้นไปใช้ประโยชน์ได้ง่าย และเป็นการลดขั้นตอนการขออนุญาตทำไม้ อีกทั้งมีความจำเป็นที่จะต้องกำหนดให้ไม้ในพืนที่ป่า เป็นไม้หวงห้ามเพื่อจะช่วยให้เป็นการอนุรักษ์ไม้เหล่านั้นไว้ในธรรมชาติ
ตอบ ↓ ศศิธร สุขสบาย 9 เมษายน 2020 ณ 13:30 เห็นด้วยกับกำหนดให้ไม้ที่ขึ้นในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์ ให้นำไปทำประโยชน์ได้ อีกทั้งเพื่อเป็นการอนุรักษ์พรรณไม้ และยังช่วยสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีในพื้นที่ นั้น ๆ
ตอบ ↓ ณรัฐนันทน์ สุวรรณผ่อง 9 เมษายน 2020 ณ 13:37 เห็นด้วยกับการกำหนดให้ไม้ที่ขึ้นในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์หรือ สิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมายที่ดินไม่เป็นไม้หวงห้าม เพื่อสะดวกต่อการใช้ประโยชน์ เห็นด้วยกับการกำหนดให้ไม้ที่ขึ้นในป่าเป็นไม้หวงห้าม เพื่อการอนุรักษ์ เห็นด้วยกับการเพิ่มไม้กฤษณาที่ขึ้นในป่าให้เป็นไม้หวงห้าม เพื่อเป็นการอนุรักษ์ไม้กฤษณา
ตอบ ↓ ณรัฐนันทน์ สุวรรณผ่อง 9 เมษายน 2020 ณ 13:43 เห็นด้วยกับการกำหนดให้ไม้ที่ขึ้นในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์หรือ สิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมายที่ดินไม่เป็นไม้หวงห้าม เพื่อสะดวกต่อการใช้ประโยชน์ และเห็นด้วยกับการกำหนดให้ไม้ที่ขึ้นในป่าเป็นไม้หวงห้าม เพื่อการอนุรักษ์ เห็นด้วยกับการเพิ่มไม้กฤษณาที่ขึ้นในป่าให้เป็นไม้หวงห้าม เพื่อเป็นการอนุรักษ์ไม้กฤษณา
ตอบ ↓ วิทวัส เขียวบาง 9 เมษายน 2020 ณ 14:05 1. ขอเสนอความคิดเห็น กฤษณาในประเทศไทยมี 5 ชนิด ควรใส่แค่ชื่อสกุลกฤษณา (Aquilaria spp.) พอครับ ไม่ควรใส่คำระบุชนิดครับ เพื่อเป็นการครอบคลุมว่าเป็นไม้กฤษณาทุกชนิดครับ 2. ขอเสนอความคิดเห็น เพื่อความถูกต้องของข้อมูล ควรแก้ชื่อวิทยาศาสตร์ครับ กฤษณา Aquilaria crassna Pierre ex Lecomte ยาง ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don สัก Tectona grandis L. f. อ้างอิง หนังสือชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน์ ขอบคุณครับ
ตอบ ↓ สุวรรณา เหมือนสอาด 9 เมษายน 2020 ณ 14:26 เห็นด้วยกับพระราชกฤษฏีกากำหนดไม้หวงห้ามนี้ ที่นำไม้กฤษณาที่ขึ้นในป่าเป็นไม้หวงห้าม เพื่อเป็นการอนุรักษ์สภาพป่าให้สมบูรณ์และเพื่อต่อยอดการศึกษาไม้กฤษณาต่อไปในอนาคต
ตอบ ↓ พนิดา เพชรสุวรรณ 9 เมษายน 2020 ณ 15:20 เห็นด้วยกับการกำหนดให้ไม้กฤษณาที่ขึ้นอยู่ในป่า เป็นไม้หวงห้ามเพิ่มเติม เนื่องจากในสภาพป่าธรรมชาตินั้น ไม้กฤษณามีจำนวนลดลงเรื่อยๆ ปัญหาเกิดจากการลักลอบเข้าไปใช้ประโยชน์ไม้กฤษณา หากมีกฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับที่ชัดเจน ก็จะสามารถจัดการและควบคุมปัญหาดังกล่าวได้
ตอบ ↓ ธีระพงษ์ บุญปรก 10 เมษายน 2020 ณ 15:15 เห็นด้วยกับพระราชกฤษฏีกากำหนดไม้หวงห้ามนี้ ที่ได้เพิ่มรายชื่อไม้กฤษณาที่ขึ้นในป่าเป็นไม้หวงห้าม และการกำหนดให้ไม้ ที่ขึ้นอยู่ในพื้นที่กรรมสิทธิ์ และพื้นที่ที่รัฐกำหนดให้ใช้ประโยชน์ ไม่เป็นไม้หวงห้าม เพราะจะช่วยใช้ประชาชนได้นำไม้เหล่านั้นไปใช้ประโยชน์ได้ง่าย และเป็นการลดขั้นตอนการขออนุญาตทำไม้
ตอบ ↓ นายจำลอง อุทัยวัฒนเดช 14 เมษายน 2020 ณ 11:51 1. ให้ไม้ทุกชนิดในป่า ในท้องทุกจังหวัด ทั่วราชอาณาจักรเป็นไม้หวงห้ามประเภท ก. 2. ไม้ชนิดใดจะให้เป็นไม้หวงห้ามประเภท ข. ให้กำหนดโดยพระราษกฤษฎีกา
ตอบ ↓ วาทินี ทองเชตุ 14 เมษายน 2020 ณ 16:51 เห็นสมควรกำหนดให้ไม้กฤษณาเป็นไม้หวงห้าม ประเภท ก. โดยกำหนดให้ไม้กฤษณาที่ขึ้นในป่า อยู่ในบัญชี ท้าย พระราชกฤษฎีกากำหนดไม้ห้วงห้าม (ฉบับที่…) พ.ศ. … เนื่องจากปัจจุบันไม้กฤษณาในป่าธรรมชาติเหลืออยู่ไม่มากนัก และพบข่าวการกระทำผิดเกี่ยวกับการลักลอบเก็บหาของป่า (กฤษณา) มาโดยตลอด ดังนั้นเพื่อเป็นการอนุรักษ์พันธุกรรมไม้กฤษณาของประเทศไทย จึงเห็นด้วยอย่างยิ่ง ที่จะแก้ปรับปรุงพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการกำหนดไม้หวงห้ามเสียใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานภาพของไม้กฤษณาในปัจจุบัน
ตอบ ↓ นายวรายุทธ นิลผึ้ง 15 เมษายน 2020 ณ 08:48 เห็นด้วย กับร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ ..) พ..ศ….
ตอบ ↓ อนุสรา ธนนันท์ธาดา 16 เมษายน 2020 ณ 15:04 เห็นด้วยกับร่าง พระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้ามฯ ฉบับนี้ ที่เห็นความสำคัญของไม้กฤษณาที่ควรกำหนดให้เป็นไม้หวงห้าม ประเภท ก ที่ขึ้นในป่าธรรมชาติ ซึ่งปัจจุบันมีน้อยมากสมควรให้มีการอนุรักษ์ไว้
ตอบ ↓ ประสิทธิ์ 17 เมษายน 2020 ณ 08:55 เห็นด้วยกับการกำหนดให้ไม้กฤษณาที่ประชาชนปลูกในพื้นที่กรรมสิทธิ์ไม่ควรเป็นไม้หวงห้าม เนื่องจากจะช่วยให้ประชาชนสนใจปลูกมากยิ่งขึ้น เพราะสามารถนำไม้เหล่านั้นไปใช้ประโยชน์ได้ง่ายโดยไม่มีขั้นตอนการขออนุญาตตัดไม้ แต่ถ้าเป็นไม้หวงห้ามประชาชนก็จะไม่อยากปลูกเพราะไม่สามารถนำใช้ประโยชน์ได้ และเป็นการขัดรัฐธรรมนูญในเรื่องสิทธิของผู้ปลูก ยกตัวอย่างเช่น การเลี้ยงจระเข้เมื่อใกล้สูญพันธ์ุ เมื่ออนุญาตให้เลี้ยงได้ ประชาชนที่สนใจก็เลี้ยงมาก จระเข้ก็จะไม่มีการสูญพันธุ์
ตอบ ↓ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดอำนาจเจริญ 17 เมษายน 2020 ณ 13:08 เห็นด้วย กับร่าง พระราชกฤษฎีกากำหนดไม้ห้วงห้าม (ฉบับที่…) พ.ศ. … ฉบับนี้ ที่เห็นความสำคัญของไม้กฤษณา ที่ควรกำหนดให้เป็นไม้หวงห้าม ประเภท ก ที่ขึ้นในป่าธรรมชาติ ซึ่งปัจจุบันมีน้อยมากสมควรให้มีการอนุรักษ์ไว้
ตอบ ↓ กรมการพัฒนาชุมชน 17 เมษายน 2020 ณ 13:16 เห็นด้วยกับร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม ฯ ที่กำหนดให้ไม้กฤษณา เป็นไม้หวงห้าม
ตอบ ↓ ปันฐลิกา พงศ์ฉบับนภา (กองบริหารการค้าสินค้าทั่วไป กรมการค้าต่างประเทศ) 17 เมษายน 2020 ณ 16:39 เห็นด้วยในหลักการที่จะกำหนดให้ไม้ 16 ชนิดตามมาตรา 4 ของ (ร่าง) พระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ที่ขึ้นในป่าเป็นไม้หวงห้ามประเภท ก เพื่ออุดช่องว่างของกฎหมาย และให้ไม้สัก ไม้ยาง ไม้ยางนา และไม้กฤษณา ที่ขึ้นในป่าเป็นไม้หวงห้าม ตามบัญชีท้ายร่างพระราชกฤษฎีกาฯ ดังกล่าว เพื่อเป็นการอนุรักษ์/ปกป้องรักษาพันธุ์ไม้ดังกล่าวที่ขึ้นในป่าธรรมชาติซึ่งปัจจุบันเหลืออยู่น้อยมาก
ตอบ ↓ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 20 เมษายน 2020 ณ 07:53 เห็นด้วย กับร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ ..) พ..ศ….
ตอบ ↓ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ 20 เมษายน 2020 ณ 09:49 เห็นชอบด้วยในหลักการของร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ในการเพิ่มเติมไม้กฤษณาเป็นไม้หวงห้าม เพื่อปกปักษ์รักษาให้คงอยู่ตามธรรมชาติต่อไป
ตอบ ↓ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดขอนแก่น 20 เมษายน 2020 ณ 10:28 เห็นชอบ ในหลักการและเหตุผลของร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่…) พ.ศ…
ตอบ ↓ นายจิรวัฒน์ บุปผาพรหม กองกฎหมาย กรมโรงงานอุตสาหกรรม 20 เมษายน 2020 ณ 11:13 เห็นด้วยกับร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ ..) พ..ศ….
ตอบ ↓ ยุพาภรณ์ สุขประเสริฐ สนง.ทสจ.ปราจีนบุรี 20 เมษายน 2020 ณ 12:06 เห็นด้วยกับร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม ฯ และเห็นด้วยการกำหนดไม้กฤษณา ไม่ยางนา และไม้สัก เป็นไม้หวงห้าม ตามพรก.นี้ แต่สำหรับกฤษณา ตามบัญชีท้าย พรก.กำหนดไม้หวงห้ามนี้ ระบุแค่ กฤษณา (Aquilaria crassna Pierre ) ซึ่งเป็นการระบุชนิดของกฤษณาที่จำกัดเกินไป เนื่องจากจากผลการวิจัยไม้กฤษณา ของสำนักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้ กรมป่าไม้ ระบุว่าพันธุ์ไม้สกุลกฤษณาที่พบในประเทศไทย มีทั้งหมด 6 ชิด จำแนกเป็นพันธุ์พื้นเมือง 5 ชนิด และนำเข้ามาปลูกจากประเทศจีน 1 ชนิดซึ่ง Aquilaria crassna Pierre เป็นเพียง 1 ใน 5 ชนิดที่เป็นไม้พื้นเมืองเท่านั้น ดังนั้น เพื่อให้ครอบคลุมว่าไม้กฤษณาทุกชนิด ให้ถือว่าเป็นไม้หวงห้ามตาม พรก.นี้ ครวรระบุแค่ กฤษณา (Aquilaria spp.) ขอบคุณค่ะ
ตอบ ↓ นางสาวปาจรีย์ วงศ์วชิมาเภท 20 เมษายน 2020 ณ 15:50 เห็นด้วย เพราะไม้กฤษณาค่อนข้างโตช้า ควรค่าแก่การอนุรักษ์โดยกำหนดเป็นไม้หวงห้าม
ตอบ ↓ ยุทธการณ์ ไทยลา 21 เมษายน 2020 ณ 09:11 เห็นด้วยกับหลักการของ..ร่างพระราชกฤษฏีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. นี้ครับ
ตอบ ↓ โรงพยาบาลลำปาง 21 เมษายน 2020 ณ 09:26 เห็นด้วยกับการกำหนดให้ไม้กฤษณาเป็นไม้หวงห้ามเพื่อเป็นการอนุรักษ์ปกปักษ์รักษาพันธุ์ไม้ดังกล่าว ซึ่งในปัจจุบันเหลืออยู่ในป่าตามธรรมชาติน้อยมาก และเห็นด้วยกับการกำหนดให้ไม้ทุกชนิดในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมายที่ดิน ไม่เป็นไม้หวงห้าม หรือไม้ที่ปลูกขึ้นในที่ดินที่ได้รับอนุญาตให้ทำประโยชน์
ตอบ ↓ สำนักกฎหมายและที่ดิน กรมชลประทาน 21 เมษายน 2020 ณ 11:43 เห็นด้วยกับพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้ห้งห้าม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … เนื่องจากเป็นการแก้ไขปัญหากรณีการปลูกไม้หวงห้าม ในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิ์ครอบครองตามกฎหมายที่ดิน หรือที่ดินที่ได้รับอนุญาตให้ทำประโยชน์ตามประเภทหนังสือแสดงสิทธิที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ให้ถือว่าไม่เป็นไม้หวงห้าม
ตอบ ↓ กรมควบคุมมลพิษ กองกฎหมาย 21 เมษายน 2020 ณ 14:09 กรมควบคุมมลพิษได้ตรวจพิจารณาร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ ..) พ..ศ … เสร็จแล้ว เห็นว่า ร่างพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว ไม่ขัดหรือแย้งกับภารกิจของกรมควบคุมมลพิษแต่อย่างใด
ตอบ ↓ ผกามาศ ศรีเปรม 21 เมษายน 2020 ณ 14:43 แขวงทางหลวงลำปางที่ 2 เห็นด้วย กับร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่่…….)พ.ศ….
ตอบ ↓ ผกามาศ ศรีเปรม 21 เมษายน 2020 ณ 14:49 เห็นด้วยกับร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ตอบ ↓ ผกามาศ ศรีเปรม แขวงทางหลวงลำปางที่ 2 21 เมษายน 2020 ณ 14:54 เห็นด้วย กับร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ ..) พ..ศ….
ตอบ ↓ กรมเจ้าท่า สำนักกฎหมาย 22 เมษายน 2020 ณ 12:22 กรมเจ้าท่าได้พิจารณาร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ ..) พ..ศ … แล้ว ขอเรียนว่า กรมเจ้าท่าไม่ขัดข้องในหลักการของร่างพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวแต่อย่างใด
ตอบ ↓ ศปป.4 กอ.รมน. 22 เมษายน 2020 ณ 14:11 พิจารณาแล้วเห็นว่าร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่…) พ.ศ. … มีความเหมาะสมในการอนุรักษ์ไม้มีค่าที่ขึ้น ในป่า โดยเฉพาะไม้กฤษณาซึ่งเป็นของหายาก มีค่า ของชาติที่ต้องได้รับการอนุรักษ์ ดูแล รักษา ให้คงอยู่ต่อไป และให้สิทธิเจ้าของที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์ หรือได้รับอนุญาตให้ครอบครองโดยถูกต้องตามกฎหมาย ได้ใช้ประโยชน์จากไม้มีค่าที่ขึ้นในที่ดินของตนเอง รวมทั้งยังเป็นการส่งเสริมความมั่นคงด้านทรัพยากรธรรมชาติ จึงเห็นชอบต่อร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่…) พ.ศ. … ดังกล่าว
ตอบ ↓ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยกองกฎหมาย 22 เมษายน 2020 ณ 14:34 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้พิจารณาร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่..) พ.ศ. …. แล้วเห็นด้วยในหลักการและเหตุผลของร่างพระราชกฤษฎีกานี้เพื่อให้ไม้ที่มีค่าและหายากซึ่งขึ้นในป่าเป็นไม้หวงห้ามในทุกท้องที่
ตอบ ↓ ภานุวัฒน์ ปาธรรม โรงพยาบาลเวชชารักษ์ ลำปาง กรมการแพทย์ 23 เมษายน 2020 ณ 10:48 เห็นด้วยกับการกำหนดให้ไม้กฤษณา เป็นไม้หวงห้าม เนื่องจากมีเหลืออยู่น้อยตามธรรมชาติ สมควรได้รับการอนุรักษ์เพื่อไม่ให้มีการลักลอบตัดโค่นและรักษาไว้ตามธรรมชาติต่อไป
ตอบ ↓ ศปป.4 กอ.รมน. 24 เมษายน 2020 ณ 14:36 พิจารณาแล้วเห็นว่าร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่…) พ.ศ. … มีความเหมาะสมในการอนุรักษ์ไม้มีค่าที่ขึ้นในป่า โดยเฉพาะไม้กฤษณาซึ่งเป็นของหายาก มีค่า ของชาติที่ต้องได้รับการอนุรักษ์ ดูแล รักษา ให้คงอยู่ต่อไป และให้สิทธิเจ้าของที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์ หรือได้รับอนุญาตให้ครอบครองโดยถูกต้องตามกฎหมาย ได้ใช้ประโยชน์จากไม้มีค่าที่ขึ้นในที่ดินของตนเอง รวมทั้งยังเป็นการส่งเสริมความมั่นคงด้านทรัพยากรธรรมชาติ จึงเห็นชอบต่อร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่…) พ.ศ. … ดังกล่าว
ตอบ ↓ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น 29 เมษายน 2020 ณ 11:38 พิจารณาแล้วเห็นว่า ร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่..) พ.ศ. …. มีหลักการเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม พ.ศ. 2530 ให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติป่าไม้ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2562 ที่กำหนดให้ไม้ทุกชนิดในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมายที่ดินไม่เป็นไม้หวงห้าม หรือไม้ที่ปลูกขึ้นในที่ดินที่ได้รับอนุญาตให้ทำประโยชน์ตามประเภทหนังสือแสดงสิทธิที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ให้ถือว่าไม่เป็นไม้หวงห้าม การทำไม้ไม่ต้องรับอนุญาตจากเจ้าหน้าที่อีกต่อไป ส่วนไม้ที่ขึ้นในป่าชนิดใดจะให้เป็นไม้หวงห้ามประเภทใด ให้กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกาและกำหนดให้ไม้กฤษณาเป็นไม้หวงห้ามประเภท ก โดยการกำหนดลงในบัญชีท้ายร่างพระราชกฤษฎีกานี้ จึงเห็นชอบในหลักการของร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ตอบ ↓ นางนิ่มนวล เรืองเจริญ 19 พฤษภาคม 2020 ณ 17:16 เห็นด้วยว่า พื้นที สปก. สามารถปลูกและตัดไม้หวงห้ามได้ เพราะ เป็นการเพิ่มป่าให้ชุมชน และ เป็นมรดกให้ลูกหลาน
ตอบ ↓ นางนิ่มนวล เรืองเจริญ 19 พฤษภาคม 2020 ณ 17:18 เห็นด้วยที่จะส่งเสริมให้ที่ดิน สปก.สามารถปลูกและตัด ไม้หวงห้ามได้ เพราะว่า เป็นการเพิ่มป่าไม้ให้ชุมชน และเป็นมรดกให้ลูกหลาน
ผมเห็นด้วยกับการที่ให้ไม้กฤษณา เป็นไม้หวงห้าม ในพื้นที่ป่าธรรมชาติเช่น ป่าอุทยาน ป่าอนุรักษ์ต่างๆเพื่อป้องกันการลักลอบตัดไม้กฤษณา ในป่าธรรมชาติ เพื่อช่วยกันป้องกันรักษา
แต่ไม่เห็นด้วยกับกฤษณา ที่ปลูกในพื้นที่ สปก.หรือพื้นที่ ที่รัฐให้ใช้ประโยชน์ เป็นไม้หวงห้าม
–เห็นด้วย–กับการให้ไม้กฤษณาเป็นไม้หวงห้าม
เพราะไม่ส่งผลกระทบกับประชาชนผู้ปลูกไม้ดังกล่าวในที่ดินกรรมสิทธิ์
เห็นด้วยกับการกำหนดให้ไม้ ที่ขึ้นอยู่ในพื้นที่กรรมสิทธิ์ ไม่เป็นไม้หวงห้าม เนื่องจากจะช่วยใช้ประชาชนได้นำไม้เหล่านั้นไปใช้ประโยชน์ได้ง่าย และเป็นการลดขั้นตอนการขออนุญาตทำไม้
อีกทั้งมีความจำเป็นที่จะต้องกำหนดให้ไม้ในพืนที่ป่า เป็นไม้หวงห้ามเพื่อจะช่วยให้เป็นการอนุรักษ์ไม้เหล่านั้นไว้ในธรรมชาติ
เห็นด้วยกับกำหนดให้ไม้ที่ขึ้นในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์ ให้นำไปทำประโยชน์ได้
อีกทั้งเพื่อเป็นการอนุรักษ์พรรณไม้ และยังช่วยสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีในพื้นที่ นั้น ๆ
เห็นด้วยกับการกำหนดให้ไม้ที่ขึ้นในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์หรือ สิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมายที่ดินไม่เป็นไม้หวงห้าม เพื่อสะดวกต่อการใช้ประโยชน์
เห็นด้วยกับการกำหนดให้ไม้ที่ขึ้นในป่าเป็นไม้หวงห้าม เพื่อการอนุรักษ์
เห็นด้วยกับการเพิ่มไม้กฤษณาที่ขึ้นในป่าให้เป็นไม้หวงห้าม เพื่อเป็นการอนุรักษ์ไม้กฤษณา
เห็นด้วยกับการกำหนดให้ไม้ที่ขึ้นในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์หรือ สิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมายที่ดินไม่เป็นไม้หวงห้าม เพื่อสะดวกต่อการใช้ประโยชน์ และเห็นด้วยกับการกำหนดให้ไม้ที่ขึ้นในป่าเป็นไม้หวงห้าม เพื่อการอนุรักษ์
เห็นด้วยกับการเพิ่มไม้กฤษณาที่ขึ้นในป่าให้เป็นไม้หวงห้าม เพื่อเป็นการอนุรักษ์ไม้กฤษณา
1. ขอเสนอความคิดเห็น กฤษณาในประเทศไทยมี 5 ชนิด ควรใส่แค่ชื่อสกุลกฤษณา (Aquilaria spp.) พอครับ ไม่ควรใส่คำระบุชนิดครับ เพื่อเป็นการครอบคลุมว่าเป็นไม้กฤษณาทุกชนิดครับ
2. ขอเสนอความคิดเห็น เพื่อความถูกต้องของข้อมูล ควรแก้ชื่อวิทยาศาสตร์ครับ
กฤษณา Aquilaria crassna Pierre ex Lecomte
ยาง ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don
สัก Tectona grandis L. f.
อ้างอิง หนังสือชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน์
ขอบคุณครับ
เห็นด้วยกับพระราชกฤษฏีกากำหนดไม้หวงห้ามนี้ ที่นำไม้กฤษณาที่ขึ้นในป่าเป็นไม้หวงห้าม เพื่อเป็นการอนุรักษ์สภาพป่าให้สมบูรณ์และเพื่อต่อยอดการศึกษาไม้กฤษณาต่อไปในอนาคต
เห็นด้วยกับการกำหนดให้ไม้กฤษณาที่ขึ้นอยู่ในป่า เป็นไม้หวงห้ามเพิ่มเติม เนื่องจากในสภาพป่าธรรมชาตินั้น ไม้กฤษณามีจำนวนลดลงเรื่อยๆ ปัญหาเกิดจากการลักลอบเข้าไปใช้ประโยชน์ไม้กฤษณา หากมีกฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับที่ชัดเจน ก็จะสามารถจัดการและควบคุมปัญหาดังกล่าวได้
เห็นด้วยกับพระราชกฤษฏีกากำหนดไม้หวงห้ามนี้ ที่ได้เพิ่มรายชื่อไม้กฤษณาที่ขึ้นในป่าเป็นไม้หวงห้าม และการกำหนดให้ไม้ ที่ขึ้นอยู่ในพื้นที่กรรมสิทธิ์ และพื้นที่ที่รัฐกำหนดให้ใช้ประโยชน์ ไม่เป็นไม้หวงห้าม เพราะจะช่วยใช้ประชาชนได้นำไม้เหล่านั้นไปใช้ประโยชน์ได้ง่าย และเป็นการลดขั้นตอนการขออนุญาตทำไม้
1. ให้ไม้ทุกชนิดในป่า ในท้องทุกจังหวัด ทั่วราชอาณาจักรเป็นไม้หวงห้ามประเภท ก.
2. ไม้ชนิดใดจะให้เป็นไม้หวงห้ามประเภท ข. ให้กำหนดโดยพระราษกฤษฎีกา
เห็นสมควรกำหนดให้ไม้กฤษณาเป็นไม้หวงห้าม ประเภท ก. โดยกำหนดให้ไม้กฤษณาที่ขึ้นในป่า อยู่ในบัญชี ท้าย พระราชกฤษฎีกากำหนดไม้ห้วงห้าม (ฉบับที่…) พ.ศ. … เนื่องจากปัจจุบันไม้กฤษณาในป่าธรรมชาติเหลืออยู่ไม่มากนัก และพบข่าวการกระทำผิดเกี่ยวกับการลักลอบเก็บหาของป่า (กฤษณา) มาโดยตลอด ดังนั้นเพื่อเป็นการอนุรักษ์พันธุกรรมไม้กฤษณาของประเทศไทย จึงเห็นด้วยอย่างยิ่ง ที่จะแก้ปรับปรุงพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการกำหนดไม้หวงห้ามเสียใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานภาพของไม้กฤษณาในปัจจุบัน
เห็นด้วย กับร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ ..) พ..ศ….
เห็นด้วย
เห็นด้วยกับร่าง พระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้ามฯ ฉบับนี้ ที่เห็นความสำคัญของไม้กฤษณาที่ควรกำหนดให้เป็นไม้หวงห้าม ประเภท ก ที่ขึ้นในป่าธรรมชาติ ซึ่งปัจจุบันมีน้อยมากสมควรให้มีการอนุรักษ์ไว้
เห็นด้วยกับการกำหนดให้ไม้กฤษณาที่ประชาชนปลูกในพื้นที่กรรมสิทธิ์ไม่ควรเป็นไม้หวงห้าม เนื่องจากจะช่วยให้ประชาชนสนใจปลูกมากยิ่งขึ้น เพราะสามารถนำไม้เหล่านั้นไปใช้ประโยชน์ได้ง่ายโดยไม่มีขั้นตอนการขออนุญาตตัดไม้ แต่ถ้าเป็นไม้หวงห้ามประชาชนก็จะไม่อยากปลูกเพราะไม่สามารถนำใช้ประโยชน์ได้ และเป็นการขัดรัฐธรรมนูญในเรื่องสิทธิของผู้ปลูก ยกตัวอย่างเช่น การเลี้ยงจระเข้เมื่อใกล้สูญพันธ์ุ เมื่ออนุญาตให้เลี้ยงได้ ประชาชนที่สนใจก็เลี้ยงมาก จระเข้ก็จะไม่มีการสูญพันธุ์
เห็นด้วย
เห็นด้วย
เห็นด้วย กับร่าง พระราชกฤษฎีกากำหนดไม้ห้วงห้าม (ฉบับที่…) พ.ศ. … ฉบับนี้ ที่เห็นความสำคัญของไม้กฤษณา
ที่ควรกำหนดให้เป็นไม้หวงห้าม ประเภท ก ที่ขึ้นในป่าธรรมชาติ ซึ่งปัจจุบันมีน้อยมากสมควรให้มีการอนุรักษ์ไว้
เห็นด้วยกับร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม ฯ ที่กำหนดให้ไม้กฤษณา เป็นไม้หวงห้าม
เห็นด้วยในหลักการที่จะกำหนดให้ไม้ 16 ชนิดตามมาตรา 4 ของ (ร่าง) พระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ที่ขึ้นในป่าเป็นไม้หวงห้ามประเภท ก เพื่ออุดช่องว่างของกฎหมาย และให้ไม้สัก ไม้ยาง ไม้ยางนา และไม้กฤษณา ที่ขึ้นในป่าเป็นไม้หวงห้าม ตามบัญชีท้ายร่างพระราชกฤษฎีกาฯ ดังกล่าว เพื่อเป็นการอนุรักษ์/ปกป้องรักษาพันธุ์ไม้ดังกล่าวที่ขึ้นในป่าธรรมชาติซึ่งปัจจุบันเหลืออยู่น้อยมาก
เห็นด้วย กับร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ ..) พ..ศ….
เห็นชอบด้วยในหลักการของร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ในการเพิ่มเติมไม้กฤษณาเป็นไม้หวงห้าม เพื่อปกปักษ์รักษาให้คงอยู่ตามธรรมชาติต่อไป
เห็นชอบ ในหลักการและเหตุผลของร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่…) พ.ศ…
เห็นด้วยกับร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ ..) พ..ศ….
เห็นด้วยกับร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม ฯ และเห็นด้วยการกำหนดไม้กฤษณา ไม่ยางนา และไม้สัก เป็นไม้หวงห้าม ตามพรก.นี้
แต่สำหรับกฤษณา ตามบัญชีท้าย พรก.กำหนดไม้หวงห้ามนี้ ระบุแค่ กฤษณา (Aquilaria crassna Pierre ) ซึ่งเป็นการระบุชนิดของกฤษณาที่จำกัดเกินไป เนื่องจากจากผลการวิจัยไม้กฤษณา ของสำนักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้ กรมป่าไม้ ระบุว่าพันธุ์ไม้สกุลกฤษณาที่พบในประเทศไทย มีทั้งหมด 6 ชิด จำแนกเป็นพันธุ์พื้นเมือง 5 ชนิด และนำเข้ามาปลูกจากประเทศจีน 1 ชนิดซึ่ง Aquilaria crassna Pierre เป็นเพียง 1 ใน 5 ชนิดที่เป็นไม้พื้นเมืองเท่านั้น ดังนั้น เพื่อให้ครอบคลุมว่าไม้กฤษณาทุกชนิด ให้ถือว่าเป็นไม้หวงห้ามตาม พรก.นี้ ครวรระบุแค่ กฤษณา (Aquilaria spp.)
ขอบคุณค่ะ
เห็นด้วย เพราะไม้กฤษณาค่อนข้างโตช้า ควรค่าแก่การอนุรักษ์โดยกำหนดเป็นไม้หวงห้าม
เห็นด้วยกับหลักการของ..ร่างพระราชกฤษฏีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. นี้ครับ
เห็นด้วยกับการกำหนดให้ไม้กฤษณาเป็นไม้หวงห้ามเพื่อเป็นการอนุรักษ์ปกปักษ์รักษาพันธุ์ไม้ดังกล่าว ซึ่งในปัจจุบันเหลืออยู่ในป่าตามธรรมชาติน้อยมาก และเห็นด้วยกับการกำหนดให้ไม้ทุกชนิดในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมายที่ดิน ไม่เป็นไม้หวงห้าม หรือไม้ที่ปลูกขึ้นในที่ดินที่ได้รับอนุญาตให้ทำประโยชน์
เห็นด้วยกับพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้ห้งห้าม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … เนื่องจากเป็นการแก้ไขปัญหากรณีการปลูกไม้หวงห้าม ในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิ์ครอบครองตามกฎหมายที่ดิน หรือที่ดินที่ได้รับอนุญาตให้ทำประโยชน์ตามประเภทหนังสือแสดงสิทธิที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ให้ถือว่าไม่เป็นไม้หวงห้าม
กรมควบคุมมลพิษได้ตรวจพิจารณาร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ ..) พ..ศ … เสร็จแล้ว เห็นว่า ร่างพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว ไม่ขัดหรือแย้งกับภารกิจของกรมควบคุมมลพิษแต่อย่างใด
แขวงทางหลวงลำปางที่ 2
เห็นด้วย กับร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่่…….)พ.ศ….
เห็นด้วยกับร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
เห็นด้วย กับร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ ..) พ..ศ….
กรมเจ้าท่าได้พิจารณาร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ ..) พ..ศ … แล้ว ขอเรียนว่า กรมเจ้าท่าไม่ขัดข้องในหลักการของร่างพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวแต่อย่างใด
พิจารณาแล้วเห็นว่าร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่…) พ.ศ. … มีความเหมาะสมในการอนุรักษ์ไม้มีค่าที่ขึ้น
ในป่า โดยเฉพาะไม้กฤษณาซึ่งเป็นของหายาก มีค่า ของชาติที่ต้องได้รับการอนุรักษ์ ดูแล รักษา ให้คงอยู่ต่อไป และให้สิทธิเจ้าของที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์ หรือได้รับอนุญาตให้ครอบครองโดยถูกต้องตามกฎหมาย ได้ใช้ประโยชน์จากไม้มีค่าที่ขึ้นในที่ดินของตนเอง
รวมทั้งยังเป็นการส่งเสริมความมั่นคงด้านทรัพยากรธรรมชาติ จึงเห็นชอบต่อร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่…) พ.ศ. … ดังกล่าว
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้พิจารณาร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่..) พ.ศ. …. แล้วเห็นด้วยในหลักการและเหตุผลของร่างพระราชกฤษฎีกานี้เพื่อให้ไม้ที่มีค่าและหายากซึ่งขึ้นในป่าเป็นไม้หวงห้ามในทุกท้องที่
เห็นด้วยกับการกำหนดให้ไม้กฤษณา เป็นไม้หวงห้าม เนื่องจากมีเหลืออยู่น้อยตามธรรมชาติ สมควรได้รับการอนุรักษ์เพื่อไม่ให้มีการลักลอบตัดโค่นและรักษาไว้ตามธรรมชาติต่อไป
พิจารณาแล้วเห็นว่าร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่…) พ.ศ. … มีความเหมาะสมในการอนุรักษ์ไม้มีค่าที่ขึ้นในป่า โดยเฉพาะไม้กฤษณาซึ่งเป็นของหายาก มีค่า ของชาติที่ต้องได้รับการอนุรักษ์ ดูแล รักษา ให้คงอยู่ต่อไป และให้สิทธิเจ้าของที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์ หรือได้รับอนุญาตให้ครอบครองโดยถูกต้องตามกฎหมาย ได้ใช้ประโยชน์จากไม้มีค่าที่ขึ้นในที่ดินของตนเอง รวมทั้งยังเป็นการส่งเสริมความมั่นคงด้านทรัพยากรธรรมชาติ จึงเห็นชอบต่อร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่…) พ.ศ. … ดังกล่าว
พิจารณาแล้วเห็นว่า ร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่..) พ.ศ. …. มีหลักการเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม พ.ศ. 2530 ให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติป่าไม้ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2562 ที่กำหนดให้ไม้ทุกชนิดในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมายที่ดินไม่เป็นไม้หวงห้าม หรือไม้ที่ปลูกขึ้นในที่ดินที่ได้รับอนุญาตให้ทำประโยชน์ตามประเภทหนังสือแสดงสิทธิที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ให้ถือว่าไม่เป็นไม้หวงห้าม การทำไม้ไม่ต้องรับอนุญาตจากเจ้าหน้าที่อีกต่อไป ส่วนไม้ที่ขึ้นในป่าชนิดใดจะให้เป็นไม้หวงห้ามประเภทใด ให้กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกาและกำหนดให้ไม้กฤษณาเป็นไม้หวงห้ามประเภท ก โดยการกำหนดลงในบัญชีท้ายร่างพระราชกฤษฎีกานี้ จึงเห็นชอบในหลักการของร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
เห็นด้วยว่า พื้นที สปก. สามารถปลูกและตัดไม้หวงห้ามได้ เพราะ เป็นการเพิ่มป่าให้ชุมชน และ เป็นมรดกให้ลูกหลาน
เห็นด้วยที่จะส่งเสริมให้ที่ดิน สปก.สามารถปลูกและตัด ไม้หวงห้ามได้ เพราะว่า เป็นการเพิ่มป่าไม้ให้ชุมชน และเป็นมรดกให้ลูกหลาน