หน่วยงานภาคสนาม

หน่วยงานภาคสนาม จำนวน 16 สถานี มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ดังนี้

  • จัดทำแผนงานโครงการแผนงานวิจัยและกำกับดูแลการปฏิบัติงาน ตลอดจนประสานแผนงานหน่วยงานภาคสนามของส่วนวนวัฒนวิจัย
  • สนับสนุนงานวิจัย เพื่อการบริหารทรัพยากรป่าไม้อย่างครบวงจร ประกอบด้วยงานวิจัยป่าธรรมชาติงานวิจัยป่าปลูก งานวิจัยการจัดการเมล็ดไม้ และงานวิจัยการจัดการต้นไม้และป่าในเมือง
  • ส่งเสริมและให้บริการวิชาการด้านป่าไม้ งานบิรการเมล็ดไม้ และงานรุกขกรรม
  • ประสานแผนงานวิจัยและสนับสนุนการวิจัยของส่วนวนวัฒนวิจัย
  • ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
  1. ศูนย์วนวัฒนวิจัยที่ 1 (เชียงใหม่)
  2. สถานีวนวัฒนวิจัยแม่สะนาม จังหวัดเชียงใหม่
  3. สถานีวนวัฒนวิจัยบ่อแก้ว จังหวัดเชียงใหม่
  4. สถานีวนวัฒนวิจัยห้วยบง จังหวัดเชียงใหม่
  5. สถานีวนวัฒนวิจัยอินทขิล จังหวัดเชียงใหม่
  6. ศูนย์วนวัฒนวิจัยที่ 2 (ลำปาง)
  7. สถานีวนวัฒนวิจัยแม่กา จังหวัดพะเยา
  8. ศูนย์วนวัฒนวิจัยที่ 3 (กำแพงเพชร)
  9. ศูนย์วนวัฒนวิจัยที่ 4 (กาญจนบุรี)
  10. สถานีวนวัฒนวิจัยหินลับ จังหวัดกาญจนบุรี
  11. ศูนย์วนวัฒนวิจัยที่ 5 (ขอนแก่น)
  12. ศูนย์วนวัฒนวิจัยที่ 6 (นครราชสีมา)
  13. ศูนย์วนวัฒนวิจัยที่ 7 (ประจวบคีรีขันธ์)
  14. สถานีวนวัฒนวิจัยทรายทอง จังหวัดประจบคีรีขันธ์
  15. ศูนย์วนวัฒนวิจัยที่ 8 (สุราษฎร์ธานี)
  16. ศูนย์วนวัฒนวิจัยที่ 9 (สงขลา)
  17. ศูนย์เมล็ดพันธุ์ไม้ป่าภาคเหนือ (ลำปาง)
  18. ศูนย์เมล็ดพันธุ์ไม้ป่าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ขอนแก่น)
  19. ศูนย์เมล็ดพันธุ์ไม้ป่าภาคกลาง (สระบุรี)
  20. ศูนย์เมล็ดพันธุ์ไม้ป่าภาคใต้ (สงขลา)
  • หมายเหตุ :ยุบสถานีวนวัฒนวิจัยผานกเค้า ไปรวมกับสถานีวนวัฒนวิจัยดงลาน เปลี่ยนชื่อเป็นสถานีวนวัฒนวิจัยดงลาน ควบรวมศูนย์วนวัฒนวิจัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สถานีวนวัฒนวิจัยสะแกราชและสถานีวนวัฒนวิจัยสะแกราช (หน่วยย่อย) จังหวัดนครราชสีมา พร้อมเปลี่ยนชื่อเป็นศูนย์วิจัยและพัฒนาการป่าไม้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ควบรวมศูนย์วนวัฒนวิจัยภาคใต้และสถานีวนวัฒนวิจัยสงขลา จังหวัดสงขลา พร้อมเปลี่ยนชื่อเป็นศูนย์วิจัยและพัฒนาการป่าไม้ภาคใต้